No way out for fighting by people benefit on cooperation or debt include ...no way out..really?????
very strange thing in IR Field..
sugar and birds flying high and singing.......
National Debts Stir Public Emotions
Related Article: Activists Make the Federal Deficit a Personal Issue http://www.america.gov/multimedia/photogallery.html#/14900/debt/
http://www.america.gov/world/easia.html
In November 2009, President Obama traveled to Asia to make it clear that the United States intends to deepen its engagement in the Asia-Pacific region.
Obama visited Japan, Singapore, China and South Korea on a trip that included participation in the annual leaders’ meeting of the Asia-Pacific Economic Cooperation (APEC) forum in Singapore and a meeting with the 10 members of the Association of Southeast Asian Nations (ASEAN).
http://www.america.gov/relations.html
http://reocities.com/SoHo/Study/7416/
http://www.koosangkoosom.com/pages/thaipeo.asp?hidID=4&hidArticle=41842
http://kanchanapisek.or.th/cgi-bin/show2.cgi/kp6/BOOK4/pictures/l4-259
http://www.praphansarn.com/new/forum/forum_posts.asp?TID=11358&get=last
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B9%8C%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8
ผู้แต่ง ผศ.จุฑาทิพ คล้ายทับทิม
ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พิมพ์ครั้งที่ 1
ปี พ.ศ. ที่พิมพ์ 2551
ขนาด 18.50x26 ซม.
จำนวน 217 หน้า
ราคา 200 บาท
หมายเลข ISBN 978-974-9934-76-0
เนื้อหาโดยย่อ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations : IR) เป็นวิชาที่น่าสนใจและชวนศึกษา เนื่องจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่างๆ มีหลากหลายมิติ หลากหลายระดับ และมีขอบเขตที่กว้างขวาง นอกจากนี้ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศยังเป็นเรื่องใกล้ตัว และเป็นส่วนหนึ่งของการดำรงชีวิตประจำวันที่สามารถส่งผลกระทบต่ อมนุษย์ทั้งด้านบวกและด้านลบ เนื้อหาสาระของหนังสือเล่มนี้มี 8 บท ประกอบด้วยแนวคิดพื้นฐานว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ; ปัจจัยพื้นฐานที่ส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ อำนาจและผลประโยชน์แห่งชาติ เครื่องมือในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ สภาพความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ 2-ปัจจุบัน องค์การระหว่างประเทศในปัจจุบัน และบทบาทของตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐ
เนื้อหาที่นำเสนอในหนังสือเล่มนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของหลักควา มสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มีขอบเขตกว้างขวาง และซับซ้อนเกินกว่าจะอธิบายให้ครอบคลุมได้ทั้งหมด อย่างไรก็ตามผู้เขียนได้พยายามนำเสนอเนื้อหาอย่างง่าย เพื่อให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจมากขึ้น และรู้จักนำความรู้เกี่ยวกับหลักความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไปปร ะยุกต์ใช้อธิบายเหตุการณ์ปัจจุบัน อันจะเกิดประโยชน์ในการดำเนินชีวิตประจำวัน
แก้ไขล่าสุดเมื่อ ( Thursday, 26 March 2009 )
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (อังกฤษ: international relations) เป็นแขนงหนึ่งของวิชารัฐศาสตร์ เป็นหลักปฏิบัติและการศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เกี่ยวข้องโดยตรงกับการวางนโยบายระหว่างประเทศ ซึ่งครอบคลุมทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ กฎหมาย ประวัติศาสตร์ และสังคมวิทยา[แก้] อ้างอิง
- เดโช สวนานนท์, พจนานุกรมศัพท์การเมือง, พ.ศ. 2545, หน้า 91
- Columbia Encyclopedia, Sixth Edition
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เป็นบทความเกี่ยวกับ การเมือง การปกครอง หรือ กฎหมาย ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหาหรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |
http://timor-leste-dili.blogspot.com/2009_01_01_archive.html
Statement by His Excellency Mr. Abhisit Vejjajiva, Prime Minister of the Kingdom of Thailand at the Press Conference on the Occasion of the Official Visit to Thailand of His Excellency Dr. José Ramos-Horta, President of the Democratic Republic of Timor-Leste 12 January 2009 at the Ministry of Foreign Affairs(January 12, 2009, 2:27 pm)
• On behalf of the Royal Thai Government, I wish to express my warmest welcome to His Excellency Dr. José Ramos-Horta, President of the Democratic Republic of Timor-Leste, and his delegation on his Official Visit to Thailand during 11-13 January 2009. This visit symbolizes the importance Thailand places on its bilateral relations with Timor-Leste, as the President is the first high-level guest of my Administration. More importantly, on 13 January 2009, His Majesty the King will graciously grant an audience to His Excellency the President at Klai Kangwol Palace, Hua Hin, which is the highest honour for our guest. Today, the President and I met in an atmosphere of mutual trust, understanding, friendship and cooperation. Both of us noted with satisfaction that in just seven years since Thailand and Timor-Leste established diplomatic relations, our relations have grown at a satisfactory pace and will further expand as Timor-Leste now has an Embassy in Bangkok. We agreed to deepen our multi-faceted cooperation. I reaffirmed to the President that Thailand is determined to continue supporting Timor-Leste in anyway possible in her efforts to achieve stability and prosperity. Thailand will also continue to support the ongoing UN Mission in Timor-Leste (UNMIT) as well as technical cooperation both at the bilateral and trilateral levels with other countries, international organizations and institutions to assist Timor-Leste in her nation-building efforts.
• We discussed various areas of bilateral cooperation, especially technical cooperation, agriculture, and energy. Thailand reaffirmed its commitment to provide assistance to Timor-Leste in areas in which Thailand has expertise and skills. In this regard, the Ministry of Foreign Affairs of Thailand is ready to sign the extension of the Memorandum of Understanding on Economic and Technical Cooperation. I will send a delegation to Dili as soon as possible in order to discuss details and review areas of cooperation determined by Timor-Leste’s side.
http://www.mfa.go.th/web/857.php?codeSearch=SEATO
Convention on Establishment | |
อนุสัญญาการตั้งถิ่นฐาน ที่มา : หนังสือคำศัพท์-คำย่อทางการทูต สถาบันการต่างประเทศ กต. (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2) |
conventional weapons | |
อาวุธตามแบบ/อาวุธธรรมดา หมายถึง อาวุธที่ไม่ใช่อาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง ตัวอย่างเช่น ปืน รถถัง ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล ที่มา : หนังสือคำศัพท์-คำย่อทางการทูต สถาบันการต่างประเทศ กต. (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2) |
cooperative security | |
ความมั่นคงโดยการร่วมมือกัน ที่มา : หนังสือคำศัพท์-คำย่อทางการทูต สถาบันการต่างประเทศ กต. (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2) |
COPUOS (Committee on the Peaceful Uses of Outer Space) | |
คณะกรรมการว่าด้วยการใช้อวกาศส่วนนอกในทางสันติ ที่มา : หนังสือคำศัพท์-คำย่อทางการทูต สถาบันการต่างประเทศ กต. (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2) |
COREPER (Committee of Permanent Representatives) | |
คณะกรรมการในกรอบสหภาพยุโรป ประกอบด้วยผู้แทนถาวรประจำสหภาพยุโรปของประเทศสมาชิก ที่มา : หนังสือคำศัพท์-คำย่อทางการทูต สถาบันการต่างประเทศ กต. (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2) |
ผลการค้นหา "CSCAP " |
CSCAP (Council for Security and Cooperation in the Asia-Pacific) | |
ชมรมด้านความมั่นคงและความร่วมมือในเอเชียแปซิฟิก เป็นสถาบันเอกชนก่อตั้งขึ้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2536 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ โดยมีสถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ (Institute of Security and International Studies : ISIS) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันก่อตั้งร่วมกับสถาบันอื่น ๆ จากประเทศอาเซียนและประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก CSCAP เป็นกลไกที่ไม่ใช่เป็นทางการ เพื่อให้นักวิชาการ เจ้าหน้าที่รัฐบาลในฐานะส่วนตัวและบุคคลอื่นได้อภิปรายปัญหาทางการเมืองและ ความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ที่มา : หนังสือคำศัพท์-คำย่อทางการทูต สถาบันการต่างประเทศ กต. (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2) |
นกเขา
เป็น นกที่นิยมเลี้ยงกันมาก ตั้งแต่สมัยโบราณถึงปัจจุบัน เชื่อกันว่า นกที่มีลักษณะดีใครเลี้ยงไว้จะได้เป็นเศรษฐีมีทรัพย์ นกเขาหมายถึง ความเชื่อมั่น และความมีอายุยืน
นกกระสา
ตามตำนานจีนโบราณเชื่อว่า นกกระสาเป็นสัญลักษณ์หมายถึง การมีหนทางข้างหน้าเสมอ
นกกวัก
พ่อค้าแม่ค้าถือว่าเป็นนกมงคล เลี้ยงนกกวักไว้เช่นเดียวกับมีนางกวักไว้เรียกลูกค้า ช่วยทำให้ทำมาค้าขายดี
นกกางเขน
นกกางเขนเป็นผู้นำความยินดีมาให้ เชื่อว่านกกางเขนเป็นนกที่นำความโชคดี หรือนำข่าวดีมาให้
นกนางแอ่น เป็นสัญญาลักษณ์ของความสำเร็จ โดยเฉพาะเมื่อมันมาทำรังที่บ้านคน มีความหมายว่าใครบางคนในบ้าน กำลังจะได้แต่งงาน |
สัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวน หมายถึง สัตว์ป่าที่หายาก กำหนดตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. ๒๕๐๓ จำนวน ๙ ชนิด เป็นสัตว์ป่าเลี้ยงลูกด้วยนมทั้งหมด ได้แก่ แรด กระซู่ กูปรี ควายป่า ละองหรือละมั่ง สมัน เนื้อทราย เลียงผา และกางผา สัตว์ป่าสงวนเหล่านี้หายาก หรือใกล้จะสูญพันธุ์หรืออาจจะสูญพันธุ์ไปแล้ว จึงจำเป็นต้องมีบทบัญญัติเข้มงวดกวดขัน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่สัตว์ป่าที่ยังมีชีวิตอยู่ หรือซากสัตว์ป่า ซึ่งอาจจะตกไปอยู่ยังต่างประเทศด้วยการซื้อขาย ต่อมาเมื่อสถานการณ์ของสัตว์ป่าในประเทศไทย เปลี่ยนแปลงไป สัตว์ป่าหลายชนิดมีแนวโน้มถูกคุกคามเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์มากยิ่งขึ้น ประกอบกับเพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับความร่วมมือระหว่างประเทศในการ ควบคุมดูแลการค้าหรือการลักลอบค้าสัตว์ป่าในรูปแบบต่างๆ ตามอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ว่าด้วยชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าหรือ CITES ซึ่งประเทศไทยได้ร่วมลงนามรับรองอนุสัญญาในปี พ.ศ.๒๕๑๘ และได้ให้สัตยาบัน เมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๖ นับเป็นสมาชิกลำดับที่ ๘๐ จึงได้มีการพิจารณาแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติฉบับเดิม และตราพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.๒๕๓๕ ขึ้นใหม่เมื่อวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๕สัตว์ป่าสงวนตามในพระราชบัญญัติฉบับใหม่ หมายถึง สัตว์ป่าที่หายากตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัติฉบับนี้ และตามที่กำหนดโดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ทำให้สามารถเปลี่ยนแปลงชนิดสัตว์ป่าสงวนได้โดยสะดวก โดยออกเป็นพระราชกฤษฎีกาแก้ไข หรือเพิ่มเติมเท่านั้น ไม่ต้องถึงกับต้องแก้ไขพระราชบัญญัติอย่างของเดิม ทั้งนี้ได้มีการเพิ่มเติมชนิดสัตว์ป่าที่มีสภาพล่อแหลมต่อการสูญพันธุ์ อย่างยิ่ง ๗ ชนิด และตัดสัตว์ป่าที่ไม่อยู่ในสถานะใกล้จะสูญพันธุ์ เนื่องจากการที่สามารถเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์ได้มาก ๑ ชนิด คือ เนื้อทราย รวมกับสัตว์ป่าสงวนเดิม ๘ ชนิด รวมเป็น ๑๕ ชนิด ได้แก่ นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร แรด กระซู่ กูปรี ควายป่า ละองหรือละมั่ง สมัน เลียงผา กวางผา นกแต้วแล้วท้องดำ นกกระเรียน แมวลายหินอ่อน สมเสร็จ เก้งหม้อ และพะยูน
http://busarin.site90.com/save2.htm
|
|